Industrial Logistics

 

แขนงวิชาอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

แขนงวิชาโลจิสติกส์อุตสาหกรรม จะมุ่งเน้นในการผลิตบัณฑิตในศาสตร์ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อตอบสนองในอุตสาหกรรมสมัยใหม่


  1. PLO1 อธิบายหลักการ ทฤษฎี ความรู้เชิงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวิธีการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้
  2. PLO2 สามารถประยุกต์ความรู้เพื่อต่อยอด การเป็นผู้ประกอบการ
  3. PLO3 สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ด้วยตนเองสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อสร้างแผนการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ
  4. PLO4 สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการแสวงหาข้อมูลสำหรับนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
  5. PLO5 สามารถทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
  6. PLO6 วิเคราะห์ปัญหา กระบวนการทำงาน และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานทางด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลได้
  7. PLO7 แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงาม
  8. PLO8 แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก
  9. PLO9 มีบุคลิกที่มีความคิดสร้างสรรค์
  10. PLO10 แสดงออกซึ่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองและส่วนรวม ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ยอมรับความแตกต่างในสังคมและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
  11. PLO12 เลือกใช้ภาษาและเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนเพื่อดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้อย่างเหมาะสม

โครงสร้างหลักสูตร ดาวน์โหลดที่นี่

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
    2.1) วิชาแกน 18 หน่วยกิต
    2.2) วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
        2.2.1) วิชาเอกบังคับ 15 หน่วยกิต
        2.2.2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
        2.2.3) การบูรณาการความรู้ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 78 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะการใช้ชีวิตคุณภาพ 7 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาพลเมืองไทยและพลเมืองไทย 10 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่เสริมสมรรถนะการทำงานในโลกอนาคต 7 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
2.1 วิชาแกน 18 หน่วยกิต
English for Logistics 3(3-0-6)
Logistics and Supply Chain Management 3(3-0-6)
Operations Management 3(3-0-6)
Business Data Analytics 3(3-0-6)
Business Research Methods 3(3-0-6)
Import-Export Management 3(3-0-6)
2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
2.2.1 วิชาเอกบังคับ 15 หน่วยกิต
Project Management 3(3-0-6)
Process Management 3(3-0-6)
Quality Management 3(3-0-6)
Automation Systems in Industrial Applications 3(2-2-5)
Computer Simulation 3(2-2-5)
2.2.2 วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
Supply Chain Risk Management 3(3-0-6)
Business Law 3(3-0-6)
Innovative and Smart Technologies in Logistics 3(3-0-6)
Seminar 1(0-2-1)
Selected topics 1 3(3-0-6)
Selected topics 2 3(3-0-6)
Advanced Materials 3(3-0-6)
High Precision Engineering 3(2-2-5)
Operations Research 3(3-0-6)
International Logistics 3(3-0-6)
Introduction to Artificial Intelligence 3(3-0-6)
Sustainable Logistics Management 3(3-0-6)
Materials Handling and Packaging 3(3-0-6)
Advanced Excel and Spreadsheet Techniques 3(2-2-5)
2.2.3 การบูรณาการความรู้ 6 หน่วยกิต
Integrated education for business and industrial logistics management 1 3(0-15-3)
Integrated education for business and industrial logistics management 2 3(0-15-3)
3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

 

  1. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ประเภทวิชาอุตสาหกรรม (สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ) หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
  2. หลักสูตรที่ผู้สมัครจบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 และ 2563
  3. มีระดับผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดการศึกษา (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00
  1. รับราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ; เช่น ทำงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม/กระทรวงพาณิชย์
  2. เอกชน ; เช่น ทำงานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม นักวิเคราะห์ ออกแบบ และวางแผน เช่น นักวิเคราะห์ทางด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผนการผลิต

Faculty

Sorry no post found.