Industrial Logistics
แขนงวิชาอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
แขนงวิชาโลจิสติกส์อุตสาหกรรม จะมุ่งเน้นในการผลิตบัณฑิตในศาสตร์ทางด้านการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อตอบสนองในอุตสาหกรรมสมัยใหม่
- PLO1 อธิบายหลักการ ทฤษฎี ความรู้เชิงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวิธีการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้
- PLO2 สามารถประยุกต์ความรู้เพื่อต่อยอด การเป็นผู้ประกอบการ
- PLO3 สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ด้วยตนเองสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อสร้างแผนการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ
- PLO4 สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการแสวงหาข้อมูลสำหรับนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
- PLO5 สามารถทำงานเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
- PLO6 วิเคราะห์ปัญหา กระบวนการทำงาน และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานทางด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลได้
- PLO7 แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงาม
- PLO8 แสดงพฤติกรรมการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก
- PLO9 มีบุคลิกที่มีความคิดสร้างสรรค์
- PLO10 แสดงออกซึ่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองและส่วนรวม ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ยอมรับความแตกต่างในสังคมและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- PLO12 เลือกใช้ภาษาและเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนเพื่อดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ได้อย่างเหมาะสม
โครงสร้างหลักสูตร ดาวน์โหลดที่นี่
|
- สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ประเภทวิชาอุตสาหกรรม (สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ) หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
- หลักสูตรที่ผู้สมัครจบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 และ 2563
- มีระดับผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดการศึกษา (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00
- รับราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ; เช่น ทำงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม/กระทรวงพาณิชย์
- เอกชน ; เช่น ทำงานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม นักวิเคราะห์ ออกแบบ และวางแผน เช่น นักวิเคราะห์ทางด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผนการผลิต
Faculty
Sorry no post found.