Asst.Prof. Thitima Wonginta, Ph.D.

ดร.ฐิติมา วงศ์อินตา

อาจารย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติมา วงศ์อินตา

Asst.Prof. Thitima Wonginta, Ph.D.

  • Ph.D.(Civil Engineering) / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Contact

Email : t_wonginta@hotmail.com

Research Interest

  • การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสินค้าเกษตร
  • การจัดการขนส่งและโลจิสติกส์
  • การบริหารความเสี่ยงในโซ่อุปทาน
  • การค้าและการขนส่งข้ามแดน

Subjects

Undergrad

  • การจัดการด้านการปฏิบัติการ
  • การวัดประสิทธิภาพในโซ่อุปทาน
  • การวางแผนอุปสงค์และสินค้าคงคลัง
  • การวิเคราะห์เชิงปริมาณสำหรับการจัดการโลจิสติกส์

สุริโย สุขคำทัต และฐิติมา วงศ์อินตา. (2565). การประเมินขีดความสามารถผู้ประกอบการขนส่ง

ข้ามแดนในแขวงสะหวันนะเขต ประเทศสปป.ลาว-เวียดนาม. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 6(1), 199-213.

(วารสารตีพิมพ์ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ (peer review) ซึ่งเป็น

บุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน ไม่น้อยกว่า 3 คน มีกำหนดการเผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน)

ฐิติมา วงศ์อินตา. (2565). การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของโซ่อุปทานทุเรียนเพื่อการส่งออกในพี้นที่จังหวัด

จันทบุรี. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(1), 219-237.

(วารสารตีพิมพ์ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ (peer review) ซึ่งเป็น

บุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน ไม่น้อยกว่า 3 คน มีกำหนดการเผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน)

เฉลิมพล พุ่มพวง และฐิติมา วงศ์อินตา. (2562). การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงในโซ่อุปทานปลาสวยงามของจังหวัด.

Humanities, Social Sciences and arts, 12(1), ๖๗๙-๖๙๗.

(วารสารตีพิมพ์ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ (peer review) ซึ่งเป็น

บุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน ไม่น้อยกว่า 3 คน มีกำหนดการเผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน)

Rath, B., Wonginta, T., & Amchang, C. (2022), Risk analysis of the rice supply chain in

Cambodia, Journal of International Logistics and Trade, 20(2), 58-77.

(วารสารทางวิชาการในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Scopus (http://www.info.scopus.com))

Wonginta, T., & Kantasa-ard, A. (2022). Developing a hybrid clustering model for Covid-19 vaccine

distribution in Bangkok metropolis, Thailand. Public Health Policy and Laws Journal, 8(1), 19-43.

(วารสารตีพิมพ์ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบทความ (peer review) ซึ่งเป็น

บุคคลภายนอกจากหลากหลายสถาบัน ไม่น้อยกว่า 3 คน มีกำหนดการเผยแพร่อย่างแน่นอนชัดเจน)