Asst.Prof. Kriangsak Vanichchakornphong, Ph.D.

krengsak

อาจารย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ วณิชชากรพงศ์

Asst.Prof. Kriangsak Vanichchakornphong, Ph.D.

  • Ph.D. (Logistics Management), Burapha University
  • M.Sc. (Information Technology), Burapha University

Contact

Email : kriangsv@buu.ac.th

Research Interest

  • Deep Neural Networks for Optimization Medical Supply Inventory
  • Leveraging Deep Learning for Demand Forecasting and Inventory Optimization
  • Transforming Hospital Pharmacy Operation with AI-Powered Demand Forecasting
  • Optimizing Transportation Routes and Schedules
  • Enhancing Hospital Logistics Efficiency through Machine Learning-Based Route and Schedule Optimization

Teaching modules

Undergrad

  • Introduction to Artificial Intelligence
  • Data Structure and Algorithms
  • Innovation and Smart Technologies in Logistics
  • Advanced Excel and Spreadsheet Techniques
  • Business Analytics
  • Quantitative Methods for Logistics Management
  • Information Technology for Logistics

Graduate

  • Information Technology for Logistics and Supply Chain

 

Vanitchakornpong, K., Ananpalasak, N., Indra-Payoong, N., & Sokai, N. (2023).

Forecasting Short-Term Crude Oil Prices with a Deep Learning Approach. Naresuan University Journal: Science And Technology (NUJST), 31(2), 91-108.

เกรียงศักดิ์ วณิชชากรพงศ์ และนิภาพรรณ อนันต์พลศักดิ์. (2566). การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์

ราคาน้ำมันดิบจากปัจจัยพื้นฐานระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนและดัชนีหุ้นด้วยวิธีโครงข่ายประสาทเทียม. วารสารวิศวกรรมศาสตร์และวิจัยเชิงนวัตกรรม, 1(1), 12-20.

Ananpalasak, N., Vanitchakornpong, K. & Atwichai P. (2021). Prioritization of Factors Affecting

Price Adjustment Using Analytic Hierarchy Process for Autoparts Company. Journal of Accountancy and Management, 13(3), 125–136.

Vanitchakornpong, K. & Ananpalasak, N. (2021). Analysis of the Relationship of Exchange Rates

and Stock Index to Crude Oil Price Using Artificial Neural Network. In Proceeding of The 12th Engineering, Science, Technology and Architecture Conference 2021 on 20 August 2021 (pp. 1416-1424). Thailand: EIT – The Engineering Institute of Thailand under H.M.The King’s Patronage

Vanitchakornpong, K., Zhou, Z, Chen, A., Indra-Payoong, N., Jansuwan, S., (2015) “A time-dependent

alpha-reliable mean-excess path finding model in stochastic networks,” Proceedings of 6th International Symposium on Transportation Network Reliability (INSTR), Nara, Japan.

Vanitchakornpong, K., Indra-payoong, N., Sumalee, A., and Sriborrirux, W., (2012) “Performance

Evaluation of a RFID-Enabled Real Time Bus Dispatching System: Case study of the Bangkok bus system,” ECTI Transaction CIT, vol. 6, no. 2, pp. 144 – 155.

Indra-Payoong, N., Sumalee, A. Vanitchakornpong, K. (2009) “A hybrid column generation and local search

algorithm for pickup and delivery problem,” Journal of Asian Transportation Research Society, vol.1, pp. 10 – 19.

Indra-Payoong, N., and Vanichakornpong, K. (2009) “Computer-aided Driver Scheduling for Bangkok

Metrobus,” In: proceedings of the 10th Intelligent Transport System Asia Pacific Conference, 8 – 10 July 2009, Bangkok, pp. 1 – 6.

Vanitchakornpong, K., Indra-Payoong, N., Sumalee, A., and Raothanachonkun, P. (2008) “Constrained

local search method for bus fleet scheduling problem with multi-depot with line change,” Evoworkshop 2008, M. Giacobini et al. (Eds.) Lecture Notes in Computer Science (LNCS),

4974, pp. 669 – 678.

2561

ตำแหน่ง หัวหน้าโครงการ “โครงการวิจัยระบบเติมเต็มวัตถุดิบสำหรับธุรกิจร้านอาหาร” เสนอต่อ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

2560

ตำแหน่ง หัวหน้าโครงการ “Route management algorithm application programming interface (API)” เสนอต่อบริษัท ซีโอแอล จำกัด รับผิดชอบการออกแบบ และพัฒนาระบบการจัดเส้นทางการส่งสินค้า โดยอัลกอริทึมคอมพิวเตอร์

2560

ตำแหน่ง รองผู้จัดการโครงการ “โครงการจัดให้มีระบบควบคุมการเดินรถโดยสารประจำทางและจอแสดงผลข้อมูลการเดินทางอัตโนมัติภายในสถานีขนส่งผู้โดยสาร โดยประยุกต์ใช้ข้อมูลจากจีพีเอส” เสนอต่อ กรมการขนส่งทางบก รับผิดชอบในการบริหารโครงการ ออกแบบและพัฒนาระบบประมาณระยะเวลาเดินทาง พยากรณ์ระยะเวลาเดินทาง เวลาการมาถึงของรถโดยสารประจำทาง (Bus arrival time)

2560

ตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร “โครงการงานจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการจราจรและอุบัติเหตุ” เสนอต่อ กรมทางหลวง รับผิดชอบในการออกแบบและพัฒนาระบบประมาณระยะเวลาเดินทาง (Travel time estimation) ออกแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับศูนย์บริหารจัดการจราจรและอุบัติเหตุ

2559

ตำแหน่ง นักวิจัย “โครงการพัฒนาระบบการเคลื่อนที่ในเมืองอัจฉริยะโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบูลธูทพลังงานต่ำ” เสนอต่อ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ รับผิดชอบการออกแบบ วิเคราะห์การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และวิเคราะห์และออกแบบระบบสำหรับผู้ใช้ และการทดสอบระบบ

2558

ตำแหน่ง หัวหน้าโครงการวิจัย “โครงการพัฒนาแบบจำลองการค้นหาเส้นทางโดยแปรผันตามช่วงเวลาแบบใช้ค่าเป้าหมายเป็นค่าเฉลี่ยการเดินทางในโครงข่ายเส้นทางที่มีความไม่แน่นอน (A time-dependent alpha-reliable mean access path finding model in stochastic networks)” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) รับผิดชอบในการบริหารโครงการ ออกแบบและพัฒนาแบบจำลองการค้นหาเส้นทางที่มีความไม่แน่นอนของระยะเวลาเดินทาง กรณีศึกษา โครงข่ายถนนในกรุงเทพฯ

2558

ตำแหน่ง นักวิจัยโครงการ “โครงการศึกษาจัดทำแผนพัฒนาทางหลวงเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งอย่างบูรณาการ” เสนอต่อ กรมทางหลวง รับผิดชอบในการออกแบบและพัฒนาแบบจำลองการค้นหาเส้นทาง (Path finding) ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์โครงข่ายทางหลวงเพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งอย่างบูรณาการ

2557

ตำแหน่ง ผู้ช่วยนักวิจัยด้านวิศวกรรมจราจร “โครงการประเมินด้านการจราจรด้วยแบบจำลอง โครงการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลบางปะกอก พระราม 3” เสนอต่อ บริษัท บางปะกอก ฮอสพิทอล กรุ๊ป จำกัด รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลจราจร ประเมินสภาพการจราจรโดยใช้แบบจำลองจราจรแบบจุลภาค (Traffic micro simulation)

2556

ตำแหน่ง นักวิจัย “โครงการจัดทำแผนพัฒนาทางหลวงเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดจากภัยพิบัติ” เสนอต่อ กรมทางหลวง รับผิดชอบในการพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายเส้นทาง พัฒนาดัชนีบ่งชี้จุดอ่อนโครงข่ายทางหลวง ออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์และระบบช่วยในการตัดสินใจ

2555

ตำแหน่ง นักวิจัย “โครงการศึกษาการเก็บข้อมูลจุดเริ่มต้นและจุดปลายทางการเดินทางด้วยโทรศัพท์มือถือ ระยะที่ 2” เสนอต่อ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย รับผิดชอบในการออกแบบและพัฒนาระบบตรวจจับสัญญาณโทรศัพท์มือถือและระบบประมวลผลระยะเวลาเดินทางของจุดเริ่มต้นและจุดปลายทางการเดินทาง