Maritime Business

 

แขนงวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี (หลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี)

ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย     : บริหารธุรกิจบัณฑิต ธุรกิจการขนส่ง (ธุรกิจพาณิชยนาวี )
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration in Transport Business (Maritime Business)

ชื่อปริญญา
ภาษาไทย     : บธ.บ. (ธุรกิจการขนส่ง)
ภาษาอังกฤษ : B.B.A. (Transport Business)

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมการศึกษา แบบเหมาจ่าย ระดับปริญญาตรี คณะโลจิสติกส์ พ.ศ. 2563 หลักสูตร ต่อเนื่อง 2 ปี เรียนเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์

ภาค อัตรา (บาท)
ภาคต้น / ภาคปลาย ภาคการศึกษาละ 26,000 บาท
ภาคฤดูร้อน ภาคการศึกษาละ 13,000 บาท

 

สมัครผ่านเว็บไซต์ >> http://regservice.buu.ac.th

 


  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ (สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี การโรงแรมและการท่องเที่ยว ฯลฯ)
  2. ต้องสอบผ่านรายวิชาศึกษาทั่วไป (รายวิชาหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง) ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต
  3. ต้องมีประสบการณ์ทำงาน ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับแขนงวิชา

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 85 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร ดาวน์โหลดที่นี่

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาทักษะการใช้ชีวิตคุณภาพ 5 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาพลเมืองไทยและพลเมืองไทย 7 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่เสริมสมรรถนะการทำงานในโลกอนาคต 6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ 61 หน่วยกิต
2.1 วิชาแกน 12 หน่วยกิต
ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจการขนส่ง 3(2-2-5)
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน 3(3-0-6)
กฎหมายและการจัดการด้านศุลกากร 3(3-0-6)
วิธีวิจัยธุรกิจ 3(3-0-6)
2.2 วิชาเอก 49 หน่วยกิต
2.2.1 วิชาเอกบังคับ 30 หน่วยกิต
ธุรกิจการขนส่งเบื้องต้น 3(3-0-6)
เรือสินค้าและคุณลักษณะของเรือ 3(3-0-6)
เศรษฐศาสตร์พาณิชยนาวี 3(3-0-6)
การจัดการโลจิสติกส์พาณิชยนาวี 3(3-0-6)
นโยบายและการจัดการท่าเรือ 3(3-0-6)
การดำเนินงานขนถ่ายสินค้าในท่าเรือ 3(3-0-6)
ธุรกรรมธุรกิจพาณิชยนาวี 3(3-0-6)
การบริหารความปลอดภัยระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
กฎหมายพาณิชยนาวี 3(3-0-6)
การประกันภัยทางทะเล 3(3-0-6)
2.2.2 วิชาเอกเลือก 11 หน่วยกิต
สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร 3(3-0-6)
เทคโนโลยีสารสนเทศพาณิชยนาวี 3(3-0-6)
ธุรกิจการเช่าเรือ 3(3-0-6)
ประวัติการพาณิชยนาวีไทย 2(2-0-4)
พิธีการศุลกากรและการประเมินภาษี 3(3-0-6)
หัวข้อเลือกสรรในธุรกิจพาณิชยนาวี 2(2-0-4)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการธุรกิจพาณิชยนาวี 1(0-2-1)
การฝึกปฏิบัติงานส าหรับสาขาธุรกิจพาณิชยนาวี 2(0-10-2)
2.2.3 การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน 8 หน่วยกิต
การฝึกปฎิบัติงานสำหรับสาขาธุรกิจพาณิชยนาวี 1 3(0-15-3)
การฝึกปฎิบัติงานสำหรับสาขาธุรกิจพาณิชยนาวี 2 3(0-15-3)
การฝึกปฎิบัติงานสำหรับสาขาธุรกิจพาณิชยนาวี 3 2(0-10-2)
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

หรือเลือกเรียนจากรายวิชาในเอกบังคับหรือวิชาเอกเลือกในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์หรือโลจิสติกส์การบิน สาขาการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี และหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทสและการจัดการโลจิสติกส์ของคณะโลจิสติกส์ได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต

1. มีความรู้และสามารถวิเคราะห์งานด้านธุรกิจพาณิชยนาวี ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
2. สามารถใช้ทักษะด้านการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
3. แสดงออกถึงความอ่อนน้อม และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
5. แสดงออกถึงการติดตามข่าวสารด้านธุรกิจพาณิชยนาวี
6. สามารถแยกปัญหาและลำดับความสำคัญของปัญหาได้
7. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
8. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และโปรแกรมพื้นฐาน
9. สามารถจัดทำใบขนสินค้าและเอกสารประกอบการนำเข้าและส่งออก

มหาวิทยาลัยบูรพามีนโยบายสำคัญในการคัดเลือกผู้เข้าศึกษาคือ มุ่งคัดเลือกคนเก่ง คนดี มีความสามารถสูง มุ่งกระจายโอกาสสู่ภาคตะวันออก และมุ่งความเสมอภาคเท่าเทียมกันในโอกาศเข้าการศึกษาด้วยนโยบายสำคัญดังกล่าวข้างต้นทำให้มีวิธีการ

สมัครเข้าศึกษา >> http://regservice.buu.ac.th

 

Faculty

Sorry no post found.